Tuesday, 30 July 2013

ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร (หน้า ๕)


อะสัญญะสัตตานัง  เทวานัง  สัททัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอะวิหา  ได้ฟังเสียง

สุตวา  อะวิหา  เทวา
ของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอะสัญญะสัตตา

สัททะมะนุสสา  เวสุงฯ,
แล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

อะวิหานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอะตัปปา  ได้ฟัง

อะตัปปา  เทวา  สัททะมะนุสสา  เวสุงฯ,
เสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอะวิหาแล้ว
ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

อะตัปปานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมสุทัสสา  ได้ฟังเสียง

สุทัสสา  เทวา  สัททะมะนุสสา  เวสุุงฯ,
ของพรหมเจ้าเหล่าชั้นอะตัปปาแล้ว  
ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

สุทัสสานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมสุทัสสี  ได้ฟังเสียง

สุทัสสี  เทวา  สัททะมะนุสสา  เวสุงฯ,
ของพรหมเจ้าเหล่าพรหมสุทัสสาแล้ว
ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

สุทัสสีนัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา
พรหมเจ้าเหล่าอะกะนิฏฐะกา ได้ฟังเสียง

อะกะนิฏฐะกา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุงฯ,
ของพรหมเจ้าเหล่าพรหมสุทัสสีแล้ว
ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

เอตัมภะคะวะตา  พาราณะสิยัง
ว่านั่นจักร  คือ ธรรม  ไม่มีจักรอื่นสู้ได้  อัน

อิสิปะตะเน  มิคะทาเย  อะนุตตะรัง
พระผู้มีพระภาคเจ้าให้เป็นไปแล้ว  ที่ป่าอิสิ-

ธัมมะจักกัง  ปะวัตติตัง  อัปปะฏิ-
ปตนะมฤคทายวัน  ใกล้เมืองพาราณาสี  อัน

วัตติยัง  สะมะเณนะ  วา  พราหมะ-
สมณพราหมณ์  เทพยดา  มาร  พรหม  และ

เณนะ  วา เทเวนะ  วา  มาเรนะ  วา
พรัหมุนา  วา  เกนะจิ  วา  โลกัสมินติ,
ใคร ๆ  ในโลกยังให้เป็นไปไม่ได้  ดังนี้,


อิติหะ  เตนะ  ขะเณนะ  เตนะ
โดยขณะครู่เดียวนั้น  เสียงขึ้นไปถึงพรหม-

มุหุตเตนะ  ยาวะ  พรัหมะโลกา
โลก  ด้วยประการฉะนี้,

สัทโท  อัพภุคคัจฉิ,
อะยัญจะ  ทะสะสะหัสสี  โลกะธาตุ,
ทั้งหมื่นโลกธาตุ,

สังกัมปิ  สัมปะกัมปิ  สัมปะเวธิ,
ได้หวั่นไหวสะเทือนสะท้านลั่นไป,

อัปปะมาโณ  จะ  โอฬาโร
ทั้งแสงสว่างอันยิ่งไม่มีประมาณ  ได้ปรากฏ

โอภาโส  โลเก  ปาตุระโหสิ,
แล้วในโลก,

อะติกกัมเมวะ  เทวานัง  เทวานุภาวัง,
ล่วงเทวานุภาพ ของเทพยดาทั้งหลายเสียหมด,

อะถะโข  ภะคะวา  อุทานัง
ลำดับนั้นแล  พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรง

อุทาเนสิ,
เปล่งอุทานว่า

อัญญาสิ  วะตะ  โภ  โกณฑัญโญ,
โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ  ผู้เจริญ,

อัญญาสิ  วะตะ  โภ  โกณฑัญโญติ,
โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ  ผู้เจริญ,

อิติหิทัง  อายัสมะโต  โกณฑัญญัสสะ
เพราะเหตุนั้น  นามว่า  อัญญาโกณฑัญญะนี้

อัญญาโกณฑัญโญเตววะ  นามัง  อะโหสีติ.
นั่นเทียว  ได้มีแล้วแก่พระผู้มีอายุโกณฑัญญะ
ด้วยประการฉะนี้แล.

จบ...ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร.




Sunday, 28 July 2013

ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร (หน้า ๔)

พราหมะเณนะ  วา  เทเวนะ  วา
มาเรนะ  วา  พรหมุนา   วา
เกนะจิ  วา  โลกัสมินติ,
ในโลกยังให้เป็นไปไม่ได้  ดังนี้

ภุมมานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา
เทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราช  ได้ฟังเสียง

จาตุมมะหาราชิกา  เทวา
ของเทพเจ้าเหล่าภุมเทวดาแล้ว  ก็ยังเสียง

สัททะมะนุสสาเวสุง,
ให้บันลือลั่น,

จาตุมมะหาราชิกานัง  เทวานัง
เทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์  ได้ฟังเสียงของ

สัททัง  สุตวา  ตาวะติงสา  เทวา
เทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราชแล้ว  ก็ยังเสียง

สัททะมะนุสสาเวสุง,
ให้บันลือลั่น,

ตาวะติงสานัง  เทวานัง  สัททัง
เทพเจ้าเหล่าชั้นยามา  ได้ฟังเสียงของเทพ

สุตวา  ยามาเทวา
เจ้าเหล่าชั้นเหล่าชั้นดาวดึงส์แล้ว  ก็ยังเสียงให้

สัททะมะนุสสาเวสุง,
บันลือลั่น,

ยามานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา
เทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิต  ได้ฟังเสียงของเทพ

ตุสิตา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง,
เจ้าเหล่าชั้นยามาแล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

ตุสิตานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา
เทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรตี  ได้ฟังเสียงของ

นิมมานะระตี  เทวา  สัททะ
เทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตแล้ว  ก็ยังเสียงให้

มะนุสสาเวสุง,
บันลือลั่น,

นิมมานะระตีนัง  เทวานัง  สัททัง
เทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตี  ได้ฟัง

สุตวา  ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง  เทวานัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นปาริสสัชชา  ได้ฟัง

สัททัง  สุตวา  พรัหมะปาริสัชชา
เสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตี

เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง,
แล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง  เทวานัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมปาริสสัชชา  ได้ฟัง

สัททัง  สุตวา  พรหมะปาริสัชชา
เสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตี

เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง,
แล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

พรัหมะปาริสัชชานัง  เทวานัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมปุโรหิตา  ได้ฟัง

สัททัง  สุตวา  พรัหมะปะโรหิตา
เสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นปาริสัชชาแล้ว

เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง,
ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

พรัหมะปะโรหิตานัง  เทวานัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นมหาพรหม  ได้ฟังเสียง

สัททัง  สุตวา  มะหาพรััหมา  เทวา
ของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมปุโรหิตาแล้ว

สัททะมะนุสสาเวสุง,
ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

มะหาพรัหมมานัง  เทวานัง  สัททัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมปริตตาภา  ได้ฟัง

สุตวา  ปะริตตาภา  เทวา
เสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นมหาพรหมแล้ว

สัททะมะนุสสาเวสุง,
ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

ปะริตตาภานัง  เทวานัง  สัททัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอัปปะมาณาภา

สุตวา  อัปปะมาาณาภา  เทวา
ได้ฟังเสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหม

สัททะมะนุสสาเวสุง,
ปะริตาภาแล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น.

อัปปะมาณาภานัง  เทวานัง  สัททัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอาภัสรา ได้ฟังเสียง

สุตวา อาภัสรา  เทวา
ของพรหมเจ้าเหล่าพรหมอัปปะมาณาภา

สัททะมะนุสสาเวสุง,
แล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

อาภัสรานัง  เทวานัง  สัททัง  สุตวา
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมปะริตตะสุภา  ได้

ปะริตตะสุภา  เทวา
ฟังเสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอาภัสรา

สัททะมะนุสสาเวสุง,
แล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

ปะริตตะสุภาณัง  เทวานัง  สัททัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอัปปะมาณะสุภา

สุตวา  อัปปะมาณะสุภา  เทวา
ได้ฟังเสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหม-

สัททะมะนุสสาเวสุง,
ปะริตตะสุภาแล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

อัปปะมาณะสุภานัง  เทวานัง  สัททัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมสุภะกิณหะกา

สุตวา  สุภะกิณหะกา  เทวา
ได้ฟังเสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอัป-

สัททะมะนุสสาเวสุง,
ปะมาณะสุภาแลส้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

สุภะกิณณะหะกานัง  เทวานัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมสุภะกิณ-

สัททะมะนุสสาเวสุง,
ณะหะกาแล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,

เวหัปผะลานัง  เทวานัง  สัททัง
พรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมอะสัญญะสัตตา  ได้

สุตวา  อะสัญญะสัตตา  เทวา
ฟังเสียงของพรหมเจ้าเหล่าชั้นพรหมเวหัป-

สัททะมะนุสสา  เวสุงฯ,
ผะลาแล้ว  ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น,


(ยังมีต่ออีก)






















Saturday, 27 July 2013

ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร (หน้า ๓)

ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรธะคามินี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

ปะฏิปะทา  อะริยะสัจจัง  ภาเว-
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

ตัพพันติ  เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะ-
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว

นุสสุเตสุ  ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ
แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง

ญาณัง  อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ
แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขนิโรธคามินี  ปฏิ-

วิชชา  อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,
ปฏิปทาอริยสัจจ์นี้นั้นแล  ควรให้เจริญ,


*ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรธะคามินี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

ปะฏิปะทา  อะริยะสัจจัง  ภาวิตันติ
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

เม  ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว

ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง
แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง

อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา
แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขนิโรธคามินี  ปฏิ-

อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,
ปทาอริยสัจจ์นี้นั้นแล  อันเราเจริญแล้ว,


*ยาวะกีวัญจะ  เม  ภิกขะเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ปัญญาอันรู้เห็นตาม

อิเมสุ  จะตูสุ  อะริยะสัจเจสุ
เป็นจริงแล้วอย่างไร  ในอริยสัจจ์ ๔ เหล่านี้

เอวันติปะริวัฏฏัง  ทวาทะสาการัง
ของเรา  ซึ่งมีรอบ ๓  มีอาการ ๑๒ อย่างนี้

ยะถาภูตัง  ญาณะทัสสะนัง
ยังไม่เป็นของบริสุทธิ์หมดจดด้วยดีแก่เรา

นะ  สุวิสุทธัง  อะโหสิ,
เพียงใดแล้ว,


*เนวะ  ตาวาหัง  ภิกขะเว  สะเทวะเก
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  เราได้ยืนยันตนว่าเป็น

โลเก  สะมาระเก  สะพรัหมะเก
ผู้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะซึ่งปัญญาเครื่องตรัสรู้

สัสสะมะณะพราหมะณิยา  ปะชายะ
ชอบ  ไม่มีความตรัสรู้อื่นจะยิ่งกว่าในโลก

สะเทวะมะนุสสายะ  อะนุตตะรัง
เป็นไปกับด้วยเทพยดา มาร พรหม ในหมู่

สัมมาสัมโพธิง  อะภิสัมพุทโธ
สัตว์ ทั้งสมณพราหมณ์ เทพยดา มนุษยย์

ปัจจัญญาสิง,
ไม่ได้เพียงนั้น,

ยะโต  จะ  โข  เม  ภิกขะเว  อิเมสุ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาาย ก็เมื่อใดแลปัญญาอัน

จะตูสุ  อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริ-
รู้เห็นตามเป็นจริงอย่างไรในอริยสัจจ์ ๔

วัฏฏัง  ทวาทะสาการัง  ยะถาภูตัง
เหล่านี้ ของเราซึ่งมีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒

ญาณะทัสสะนัง  สุวิสุทธัง  อะโหสิ,
อย่างนี้หมดจดดีแล้ว

อะถาหัง  ภิกขะเว  สะเทวะเก
เมื่อนั้น เราจึงได้ยืนยันว่าเป็นผู้ตรัสรู้

โลเก  สะมาระเก  สะพรัหมะเก
พร้อมเฉพาะ ซึ่งปัญญา เครื่องตรัสรู้ชอบ

สัสสะมะณะพราหมะณิยา  ปะชายะ
ไม่มีความตรัสรู้อื่นยิ่งกว่าในโลก เป็นไปกับ

สะเทวะมะนุสสายะ  อะนุตตะรัง
ด้วยเทพยดา มาร พรหม ในหมู่สัตว์ ทั้ง

สัมมาสัมโพธิง  อะภิสัมพุทโธ  ปัจจัญญาสิง,
สมณพราหมณ์ เทพยดา มนุษย์,

ญาณัญจะ  ปะนะ  เม  ทัสสะนัง  อุทะปาทิ
ก็แล ปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา,

อะกุปปา  เม  วิมุตติ  อายะมันติมา
ว่าความพ้นพิเศษของเราไม่กลับกำเริบ ชาติ

ชาติ  นัตถิทานิ  ปุนัพภะโวติ,
นี้เป็นที่สุดแล้ว บัดนี้ไม่มีภพอีก,

อิทะมะโวจะ  ภะคะวา,
พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสธรรมปริยายนี้แล้ว,

อัตตะมะนา  ปัญจะวัคคิยา  ภิกขู,
ภิกษุปัญจวัคคีก็มีใจยินดี,

ภะคะวะโต  ภาสิตัง  อะภินันทุง,
เพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า,

อิมัสมิญจะ  ปะนะ
ก็แล  เมื่อเวยยากรณ์นี้  อันพระผู้มีพระภาค-

เวยยากะระณัสมิง  ภัญญะมาเน,
เจ้าตรัสอยู่,

อายัสสะมะโต  โกณฑัญญัสสะ  วิระชัง
จักษุในธรรม อันปราศจากธุลีปราศจากมล-

วิตะมะลัง  ธัมมะจักขุง  อุทะปาทิ,
ทินได้เกิดขึ้นแล้วแก่พระผู้มีอายุโกณฑัญญะ,

ยังกิญจิ  สะมุทะยะธัมมัง  สัพพันตัง
ว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มีอันเกิดขึ้นเป็นธรรมดา

นิโรธะธัมมันติ,
สิ่งทั้งปวงนั้น มีอันดับไปเป็นธรรมดา,

ปะวัตติเต  จะ  ภะคะวะตา
ก็ครั้นเมื่อธรรมจักร อันพระผู้มีพระภาคเจ้า

ธัมมะจักเก,
ให้เป็นไปแล้ว,

ภุมมา  เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง,
เหล่าภุมมเทวดา ก็ยังเสียงให้บันลือลั่นว่า,

เอตัมภะคะวะตา  พาราณะสิยัง
นั่นจักร คือ ธรรม ไม่มีจักรอื่นสู้ได้ อันพระ

อิสิปะตะเน  มิคะทาเย  อะนุตตะรัง
ผู้มีพระภาคเจ้าให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนะ

ธัมมะจักกัง  ปะวัตติตัง
มฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณาสี อันสมณ-

อัปปะฏิวัตติยัง  สะมะเณนะ  วา
พราหมณ์ เทพยดา มาร พรหม และใคร ๆ 

(ยังมีต่ออีก)













Wednesday, 24 July 2013

ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร (หน้า ๒)

*ตังโข  ปะนิทัง  ทุกขัง  อะริยสัจจัง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

ปะริญเญยยันติ  เม  ภิกขเว
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้น

จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ
แล้วแก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคย

ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ
ฟังแล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขอริยสัจจ์นี้นั้น

อาโลโก  อุทะปาทิ,
แล  ควรกำหนดรู้,

ตังโข  ปะนิทัง  ทุกขัง  อะริยะสัจจัง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

ปะริญญาตันติ  เม  ภิกขะเว
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

ปุพเพ  อะนุสสุเตสุ   ธัมเมสุ
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว

จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ
แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง

ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชา  อุทะปาทิ
แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขอริยสัจจ์นี้นั้นแล

อาโลโก  อุทะปาทิ,
อันเราได้กำหนดรู้แล้ว,

อิทัง  ทุกขะสะมุทะโย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

อะริยะสัจจันติ  เม  ภิกขะเว
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้น

จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ
แล้วแก่เรา  ในธรรมทั้งหลายท่ี่เราไม่ได้

ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ
เคยฟังแล้ว  ในกาลก่อนว่า  นี้ทุกขสมุทัย

อาโลโก  อุทะปาทิ,
อริยสัจจ์,


*ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะสะมุทะโย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

อะริยะสัจจัง  ปะหาตัพพันติ  เม
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว

ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง
แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง

อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา
แล้ว  ในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขสมุทัย  อริยสัจจ์

อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,
นี้นั้นแล  ควรละเสีย,


*ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะสะมุทะโย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

อะริยะสัจจัง  ปะหีนันติ  เม  ภิกขะเว
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว

จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง  อุทะปาทิ
แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง

ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา  อุทะปาทิ
แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขสมุทัยอริยสัจจ์นี้

อาโลโก  อุทะปาทิ,
นั้นแล  อันเราได้ละแล้ว,


*อิทัง  ทุกขะนิโรโธ  อะริยะสัจจันติ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

เม  ภิกขุะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว

อุทะปาทิ  ปํญญา  อุทะปาทิ  วิชชา
แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง

อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,
แล้วในกาลก่อนว่่า  นี้ทุกขนิโรธอริยสัจจ์,


*ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรโธ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

อะริยะสัจจัง  สัจฉิกาตัพพันติ  เม
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว

ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง
แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง

อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา
แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขนิโรธอริยสัจจ์นี้

อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ.
นั้นแล  ควรทำให้แจ้ง,


*ตัง  โข  ปะนิทัง  ทุกขะนิโรโธ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

อะริยะสัจจัง  สัจฉิกะตันติ  เม
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว

ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง
แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้  เคยฟัง

อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา
แล้วในกาลก่อนว่า  ก็ทุกขนิโรธอริยสัจจ์นี้นั้น

อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,
แล  อันเราได้ทำให้แจ้งแล้ว,


*อิทัง  ทุกขะนิโรธะคามินี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

ปะฏิปะทา  อะริยะสัจจันติ  เม
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว

ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง
แก่เรา  ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟัง

อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา
แล้วในกาลก่อนว่า  นี้ทุกขนิโรธคามินี  ปฏิ-

อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,
ปทาอริยสัจจ์,

(ยังมีต่ออีก)

Monday, 22 July 2013

ธัมมะจักกัปปะวัตตนสูตร (หน้า ๑)


เอวัมเม  สุตัง,
อันข้าพเจ้า (คือ พระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอย่าง,นี้

เอกัง  สะมะยัง  ภะคะวา,
สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า,

พาราณะสิยัง  วิหะระติ
เสด็จประทับอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน

อิสิปะตะเน  มิคะทาเยฯ,
ใกล้เมืองพาราณาสี,

ตัตระ  โข  ภะคะวา
ในกาลนั้นแล  พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัส-

ปัญจะวัคคิเย  ภิกขู  อามันเตสิ,
เตือนพระภิกขุปัญจวัคคี ว่า ,

เทวเม  ภิกขเว  อันตา,
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ที่สุดสองอย่างนี้,

ปัพพะชิเตนะ  นะ  เสวิตัพพา,
อันบรรพชิตไม่ควรเสพ,

โย  จายัง  กาเมสุ,
คือ การประกอบตนให้พัวพันด้วยกาม ใน

กามะสุขัลลิกานุโยโค,
กามทั้งหลายนี้ใด,

หีโน,
เป็นกรรมอันเลว,

คัมโม,
เป็นเหตุให้ตั้งบ้านเรือน,

โปถุชชะนิโก,
เป็นของคนมีกิเลสหนา,

อะนะริโย,
ไม่ใช่ของคนไปจากข้าศึกคือกิเลส,

อะนัตถะสัญหิโต,
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์อย่างหนึ่ง,

โย  จายัง  อัตตะกิละมะถานุโยโค,
คือการประกอบด้วยความเหน็ดเหนื่อยด้วยตน  เหล่าใด
, (ทรมานตนเองอย่างสุดโต่ง)

ทุกโข,
ให้เกิดทุกข์แก่ผู้ประกอบ,

อะนะริโย,
ไม่ใช่ของคนไปจากข้าศึกคือกิเลส,

อะนัตถะสัญหิโต,
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์อย่างหนึ่ง,

เอเต  เต  ภิกขะเว  อุโภ  อันเต
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง

อะนุปะคัมมะ  มัชฌิมา  ปะฏิปะทา,
ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดสองอย่างนี้นั่นนั้น,

ตะถาคะเตนะ  อะภิสัมพุทธา,
อันตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง,

จักขุกะระณี  ญาณะกะระณี,
ทำดวงตา  ทำญาณเครื่องรู้,

อุปะสะมายะ  อะภิญญายะ
ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบ ระงับเพื่อ

สัมโพธายะ นิพพานายะ  สังวัตตะติ,
ความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี เพื่อความดับ,

กะตะมา  จะ  สา  ภิขะเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อปฏิบัติซึ่งเป็นกลาง

มัชฌิมา  ปะฏิปะทา,
นั้นเป็นไฉน,

ตะถาคะเตนะ  อะภิสัมพุทธา,
ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง,

จักขุกะระณี  ญาณะกะระณี,
ทำดวงตา ทำญาณเครื่องรู้,

อุปะสะมายะ  อะภิญญายะ
ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบระงับ  เพื่อ

สัมโพธายะ  นิพพานายะ  สังวัตตะติ,
ความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี  เพื่อความดับ,

อะยะเมวะ  อะริโย
ทางมีองค์ ๘  เครื่องไปจากข้าศึก คือกิเลส

อัฏฐังคิโก  มัคโค,
นี้เอง, (พระอริยบุคคลต้องเดินทางนี้)

๑.  สัมมาทิฏฐิ,                ความเห็น (ธรรมะถูกต้อง),

๒.  สัมมาสังกัปโป,         ความดำริชอบ,

๓.  สัมมาวาจา,               วาจาชอบ,

๔.  สัมมากัมมันโต,        การงานชอบ,

๕.  สัมมาอาชีโว,            การเลี้ยงชีวิตชอบ,

๖.  สัมมาวายาโม,          ความเพียงชอบ,

๗.  สัมมาสะติ,                การระลึกชอบ, (ปฏิบัติให้สูงขึ้นจากมรรคเป็นผล)

๘.  สัมมาสะมาธิ,            การตั้งจิตชอบ, (พระอริยบุคคลต้องได้สมาธิ หรือ ฌาน เท่านั้น)

อะยัง  โข  สา  ภิกขะเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  อันนี้แลข้อปฏิบัติซึ่ง

มัชฌิมา  ปะฏิปะทา,
เป็นกลางนั้น,

ตะถาคะเตนะ  อะภิสัมพุทธา,
ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว  ด้วยปัญญาอันยิ่ง,

จักขุกะระณี  ญาณะกะระณี,
ทำดวงตา  ทำญาณเครื่องรู้,

อุปะสะมายะ  อะภิญญายะ
ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบระงับ  เพื่อ

สัมโพธายะ  นิพพานายะ  สังวัตตะติ,
ความรู้ยิ่ง  เพื่อความรู้ดี  เพื่อความดับ,

อิทัง  โข  ปะนะ  ภิขะเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ก็นี้แล  เป็นทุกข์อย่าง

ทุกขัง  อะริยะสัจจัง,
แท้จริง  คือ

ชาติปิ  ทุกขา,
แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์,

ชะราปิ  ทุกขา,
แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์,

มะระณัมปิ  ทุกขัง,
แม้ความตายก็เป็นทุกข์,

โสกะปริเทวะทุกขะโทมะนัส-
แม้ความโศกความร่ำไรรำพัน

สุปายาสาปิ  ทุกขา,
ความไม่สบายกาย  ความไม่สบายใจ
ความคับแค้นใจก็เป็นทุกข์,

อัปปิเยหิ  สัมปะโยโค  ทุกโข,
ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจ  ก็เป็นทุกข์,

ปิเยหิ  วิปปะโยโค  ทุกโข,
ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักที่พอใจ  ก็เป็นทุกข์,

ยัมปิจฉัง  นะ  ละภะติ  ตัมปิ  ทุกขัง,
มีความปรารถนาสิ่งใด  ไม่ได้สิ่งนั้น  นั่นก็เป็นทุกข์,

สังขิตเตนะ  ปัญจุปาทานักขันธา  ทุกขา,
ว่าโดยย่อ  อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕  เป็นตัวทุกข์,

อิทัง  โข  ปะนะ  ภิขะเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ก็นี้แล  เป็นเหตุให้ทุกข์

ทุกขะสะมุทะโย  อะริยะสัจจัง,
เกิดขึ้นอย่างจริงแท้ คือ

ยายัง  ตัณหา,
ความทะยานอยากนี้,

โปโนพภะวิกา,
ทำให้มีภพอีก,

นันทิราคะสะหะคะตา,
เป็นไปกับความกำหนัด  ด้วยอำนาจความเพลิน,

ตัตระ  ตัตราภินันทินี,
เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ

เสยยะถีทัง,
ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ,

กามะตัณหา,
ความทะยานอยากในอารมณ์ที่ใคร่,

ภะวะตัณหา,
ความทะยานอยากในความมีความเป็น,

วิภะวะตัณหา,
ความทะยานอยากในความไม่มี  ไม่เป็น,

อิทัง  โข  ปะนะ  ภิกขะเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ก็นี้แล  เป็นความดับ

ทุกขะนิโรโธ  อะริยะสัจจัง,
ทุกอย่างจริงแท้  คือ,

โย  ตัสสาเยวะ  ตัณหายะ
ความดับโดยสิ้นกำหนัด  โดยไม่เหลือแห่ง

อะเสสะวิราคะนิโรโธ,
ตัณหานั้นนั่นเทียว  อันใด,

จาโค,
ความสละตัณหานั้น,

ปะฏินิสสัคโค,
ความวางตัณหานั้น,

มุตติ,
ความปล่อยตัณหานั้น,

อะนาละโย,
ความไม่พัวพันแห่งตัณหานั้น,

อิทัง  โข  ปะนะ  ภิกขะเว  ทุกขะ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  ก็นี้แล  เป็นข้อปฏิบัติ

นิโรธะคามินี  ปะฏิปทา  อิริยะสัจจัง,
ให้ถึงความดับทุกข์อย่างจริงแท้  คือ

อะยะเมวะ  อะริโย
ทางมีองค์ ๘  เครื่องไปจากข้าศึก  คือกิเลส

เสสยยะถีทัง,
ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ,

๑.  สัมมาทิฏฐิ                     ความเห็นชอบ. (ถูกต้อง)

๒.  สัมมาสังกัปโป,             ความดำริชอบ,

๓.  สัมมาวาจา,                  วาจาชอบ,

๔.  สัมมากัมมันโต,            การงานชอบ,

๕.  สัมมาอาชีโว,               การเลี้ยงชีวิตชอบ,

๖.  สัมมาวายาโม,              ความเพียรชอบ,

๗.  สัมมาสะติ,                   การระลึกชอบ,

๘.  สัมมาสะมาธิ,               การตั้งจิตชอบ,

อิทัง  ทุกขัง  อะริยะสัจจันติ  เม
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว

ภิกขะเว  ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว  ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว

ธัมเมสุ  จักขุง  อุทะปาทิ  ญาณัง
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว  แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว

อุทะปาทิ  ปัญญา  อุทะปาทิ  วิชชา
แก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้  เคยฟัง

อุทะปาทิ  อาโลโก  อุทะปาทิ,
แล้วในกาลก่อนว่านี้เป็นทุกขอริยสัจจ์,

(ยังมีต่อ)










Saturday, 20 July 2013

สังคหวัตถุคาถา

ทานัญจะ  เปยยะวัชชัญจะ,
การให้ ๑  ถ้อยคำอันไพเราะ ๑,

อัตถะจริยา  จะ  ยา  อิธะ,
ประพฤติเป็นประโยชน์ในโลกนี้ ๑,

สะมานัตตา  จะ  ธัมเมสุ  ตัตถะ
ความเป็นผู้ประพฤติตนเสมอ  ในธรรมนั้น ๆ 

ตัตถะ  ยะถาระหัง,
ในบุคคลนั้น ๆ ตามควร ๑,

เอเต  โข  สังคะหา  โลเก,
ธรรมเครื่องสงเคราะห์ในโลกเหล่านี้แล,

ระถัสสาณีวะ  ยายะโต,
เปรียบเสมือนลิ่มสลักแห่งรถที่แล่นอยู่,

เอเต  จะ  สังคะหา  นาสสะ,
ถ้าธรรมเครื่องสงเคราะห์เหล่านี้ไม่พึงมีไซร้,

นะ  มาตา  ปุตตะการะณาละเภถะ
มารดา หรือบิดา ไม่พึงได้รับการนับถือ

มานัง  ปูชัง  วา,
หรือบูชา  เพราะเหตุที่ตนมีบุตร,

ปิตา  วา  ปุตตะการะณา  ยัสมา  จะ
เหตุใด  บัณฑิตทั้งหลาย  ย่อมพิจารณาเห็น

สังคะหา  เอเต  สะมะเวกขันติ  ปัณฑิตา,
ชอบ  ซึ่งธรรมเครื่องสงเคราะห์เหล่านี้,

ตัสมา  มะหัตตัง  ปัปโปนติ,
เหตุนั้น  จึงถึงความเป็นคนใหญ่,

ปาสังสา  จะ  ภะวันติ  เตติ.
บัณฑิตทั้งหลายนั้น  ย่อมเป็นผู้ที่ควรสรรเสริญดังนี้แล.


............................................................

คัดลอกจาก.........หนังสือธรรมานุสรณ์
                            ทำวัตร สวดมนต์ ธรรมภาวนา
วัดถ้ำแฝด ต.เขาน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

...............................................................








Sunday, 14 July 2013

มงคลจักรวาลใหญ่

สิริธิติมะติเตโชชะยะสิทธิมะหิทธิ
ด้วยอานุภาพแห่งพระมหาปุริสลักษณะ ๓๒

มะหาคุณาปะริมิตะ  ปุญญาธิ
ประการ แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระ-

การัสสะสัพพันตะรายะนิวาระณะ
อรหันต์ตรัสรู้ชอบโดยพระองค์เอง  มีบุญ-

สะมัตถัสสะภะคะวะโต  อะระหะโต
ญาธิการ  อันกำหนดมิได้ด้วยพระฤทธิ์อัน

สัมมาสัมพุทธัสสะ
ยิ่งใหญ่ด้วยพระคุณอันยิ่งใหญ่  อันสำเร็จ

ทวัตติงสะมะหา
ด้วยพระสิริ มีปัญญา ตั้งมั่นมีพระปัญญา

ปุริสะลักขะณานุภาเวนะ,
เครื่องรู้รอบ พระเดชและพระชัยสามารถ
ห้ามเสียซึ่งสรรพอันตราย,

อะสีตยานุพยัญชะนานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระอนุพยัญชนะ ๘๐,

อัฎฐุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งมงคล ๑๐๘ ประการ,

ฉัพพัณณะรังสิยานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระรัศมีมีพรรณ ๖ ประการ,

เกตุมาลานุภาเวนะ
ด้วยอานุภาพ แห่งพระเกตุมาลา,

ทะสะปาระมิตานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระบารมี ๑๐ ประการ

ทะสะอุปะปาระมิตานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระอุปาบารมี ๑๐ ประการ

ทะสะปะระมัตถะปาระมิตานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระปรมัตถบารมี ๑๐ ประการ,

สิละสะมาธิปัญญานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่ง ศีล สมาธิ ปัญญา,

พุทธานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระพุทธรัตนะ,

ธัมมานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระธรรมรัตน,

สังฆานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระสังฆรัตนะ,

เตชานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระเดช,

อิทธานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระฤทธิ์,

พะลานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระกำลัง,

เญยยะธัมมานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระเญยยธรรม,

จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระธรรมขันธ์ ๘หมื่น ๔ พัน,

นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งโลกุตรธรรม ๙ ประการ,

อัฎฐังคิกะมัคคานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ,

อัฎฐะสะมาปัตติยานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระสมาบัติ ๘ ประการ,

ฉะฬะภิญญานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพแห่งพระอภิญญา ๖ ประการ,

จะตุสัจจะญาณานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระญาณในสัจจะ ๔.

ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระญาณมีกำลัง ๑๐ ประการ,

สัพพัญญุตะญาณานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระสัพพัญญุตญาณ,

เมตตากะรุณามุทิตาอุเปกขานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระเมตตา พระกรุณา
พระมุทิตา พระอุเบกขา,

สัพพะปะริตตานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระปริตรทังปวง,

ระตะนัตตะสะระณานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งอันระลึกถึงพระรัตนตรัย

ตุยหัง สัพพะโรคะ  โสกุปัททะวะ-
เหล่าโรค โสกะ อุปัทวะ ทุกข์ โทมนัส

ทุกขะโทมะนัสสุปายาสา  วินัสสันตุ,
อุปายาส ทั้งปวงของท่านจงสิ้นสูญไป,

สัพพะอันตะรายาปิ  วินัสสันตุ,
แม้เหล่าอันตรายทั้งปวง  จงสิ้นสูญไป,

สัพพะสังกัปปา  ตุยหัง  สะมิชณันตุ,
สรรพความดำริทั้งหลายของท่าน จงสำเร็จด้วยดี,

ทีฆายุตา  ตุยหัง  โหตุ,
ความเป็นผู้มีอายุยืน จงมีแก่ท่าน,

สะตะวัสสะชีเวนะ  สะมังคิโก
ท่านจงเป็นผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยความ

โหตุ  สัพพะทา,
เป็นอยู่ สิ้น ๑๐๐ ปีทุกเมื่อ,

อากาสะปัพพะตะวะนะภูมิคังคา
เทพเจ้าทั้งหลายผู้คุ้มครองสถิตอยู่ในอากาศ

มะหาสะมุททา  อารักขะกา  เทวะตา,
และบรรพตไพรสณฑ์ ภูมิสถาน แม่น้ำคงคา มหาสมุทร,

สะทา  ตุมเห  อะนุรักขันตุ
จงตามรักษาท่านทั้งหลาย ทุกเมื่อ เทอญ,

ภะวะตุ  สัพพะมังคะลัง,
ขอสรรพมงคล  จงมีแก่ท่าน,

รักขันตุ  สัพพะเทวะตา,
ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน,

สัพพะพุทธานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง,

สะทา  โสตถี  ภะวันตุ  เต,
ขอความสวัสดีทั้งหลาย  จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ,

ภะวะตุ  สัพพะมังคะลัง,
ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน,

รักขันตุ  สัพพะเทวตา,
ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน,

สัพพะธัมมานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระธรรมทั้งปวง,


สะทา  โสตถี  ภะวันตุ  เต,
ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ,

ภะวะตุ  สัพพะ  มังคะลัง,
ขอสรรพมงคล  จงมีแก่ท่าน,

รักขันตุ  สัพพะเทวะตา,
ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน,

สัพพะ  สังฆานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่พระสงฆ์ทั้งปวง,

สะทา  โสตถี  ภะวันตุ  เต,
ขอความสวัสดีทั้งหลาย  จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ,

นักขัตตะยักขะภูตานัง
ความป้องกัน บาปเคราะห์ทั้งหลาย แต่

ปาปัคคะหะนิวาระณา,
สำนักแห่งเหล่านักษัตร และยักษ์ และภูต ได้มีแล้ว

ปะริตตัสสานุภาเวนะ, 
ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตร,

หันตวา  เตสัง  อุปัททะเว,
จงกำจัดเสียซึ่งอุปัทวะทั้งหลายเหล่านั้น,

ปาปัคคะหะนิวาระณา,
สำนักแห่งเหล่านักษัตรและยักษ์ และภูตได้มีแล้ว,

ปะริตตัสสานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพ แห่งพระปริตร,

หัตวา  เตสัง  อุปัททะเว,
จงกำจัดเสียซึ่งอุปัทวะทั้งหลายเหล่านั้น,

นักขัตตะยักขะภูตานัง,
ความป้องกันบาปเคราะห์ทั้งหลาย แต่,

ปาปัคคะหะนิวาระณา,
สำนักแห่งเหล่านักษัตร และยักษ์ และภูตได้มีแล้ว,

ปะริตตัสสานุภาเวนะ,
ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตร,

หันตวา  เตสัง  อุปัททะเว,
จงกำจัดเสียซึ่งอุปัทวะทั้งหลายเหล่านั้น.


.............................................................

คัดลอกจาก......หนังสือธรรมานุสรณ์
ทำวัตร สวดมนต์ ธรรมภาวนา
วัดถ้ำแฝด ต.เขาน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญนบุรี

                                             
                                            ..........................................................




















Thursday, 11 July 2013

โพชฌังคปริตต

นำ  (หันทะ มะยัง โพชฌังคะปะริตตัง ภะณามะ เส)

โพชฌังโค  สะติสังขาโต  ธัมมานัง
โพชฌงค์ ๗ ประการ คือ  สติสัมโพชฌงค์

วิจะโย  ตะถา,
ธรรมวิจยะสัมโพชฌงค์,

วิริยัมปีติ  ปัสสัทธิ  โพชฌังคา
วิริยสัมโพชฌงค์ ปีติสัมโพชฌงค์  ปัสสัทธิ

จะ  ตะถาปะเร,
สัมโพชฌงค์

สะมาธุเปกขะโพชฌังคา
สมาธิสัมโพชฌงค์  และอุเบกขาสัมโพชฌงค์

สัตเตเต  สัพพะทัสสินา  มุนินา
๗ ประการเหล่านี้ เป็นธรรมอันพระมุนีเจ้า

สัมมะทักขาตา,
ผู้ทรงเห็นธรรมทั้งปวงตรัสไว้ชอบแล้ว.

ภาวิตา  พะหุลีกะตา,
อันบุคคลเจริญแล้วกระทำให้มากแล้ว,

สังวัตตันติ  อะภิญญายะ
ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้

นิพพานายะ  จะ  โพธิยา,
และเพื่อนิพพาน,

เอเตนะ  สัจจะวัชเชนะ,
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้,

โสตถิ  เต  โหตุ  สัพพะทา,
ขอความสวัสดี  จงบังเกิดมีแก่ท่านตลอดกาลทุกเมื่อ,

เอกัสมิง  สะมะเย  นาโถ  โมคคัลลา
ในสมัยหนึ่ง พระโลกนาถเจ้า ทอดพระเนตร

นัญจะกัสสะปัง  คิลาเน
เห็นพระโมคคัลลานะ และพระมหากัสสปะ

ทุกขิเตทิสวา,
เป็นไข้ ได้รับความลำบาก,

โพชฌังเค  สัตตะ  เทสะยิ,
จึงทรงแสดงโพชฌงค์ ๗ ประการ ให้ท่านทั้งสองฟัง,

เต  จะ  ตัง  อะภินันทิตวา
ท่านทั้งสองนั้น ชื่นชมยินดียิ่ง ซึ่งโพชฌงค์

โรคา  มุจจิงสุ  ตังขะเณ,
ธรรม, ก็หายโรคได้ในบัดดล,

เอเตนะ  สัจจะวัชเชนะ,
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้,

โสตถิ  เต  โหตุ  สัพพะทา,
ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่านตลอดกาลทุกเมื่อ,

เอกะทา  ธัมมะราชาปิ
ในครั้งหนึ่ง  องค์พระธรรมราชาเอง  (พระ-

เคลัญเญนาภิปิฬิโต,
พุทธเจ้า)  ทรงประชวรเป็นไข้หนัก,

จุนทัตเถเรนะ  ตัญเญวะ
รับสั่งให้พระจุนทะเถระ กล่าวโพชฌงค์นั้น

ภะณาเปตวานะ  สาทะรัง,
แลถวายโดยเคารพ,

สัมโมทิตวา  จะ  อาพาธา  ตัมหา
ก็ทรงบันเทิงพระหฤทัย หายจากพระประชวร

วุฎฐาสิ  ฐานะโส,
นั้นได้โดยพลัน,

เอเตนะ  สัจจะวัชเชนะ,
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้,

โสตถิ  เต  โหตุ  สัพพะทา,
ขอความสวัสดี  จงบังเกิดมีแก่ท่านตลอดกาลทุกเมื่อ,

ปะหีนา  เต  จะ  อาพาธา
ก็อาพาธทั้งหลายนั้นของพระผู้ทรงคุณอันยิ่ง

ติณณันนัมปิ  มะเหสินัง,
ใหญ่ทั้ง ๓ องค์นั้น  หายแล้วไม่กลับเป็นอีก,

มัคคาหะตะกิเลสาวะ
ดุจดังกิเลส  ถูกอริยมรรคกำจัดเสียแล้ว ถึง

ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง,
ซึ่งความไม่เกิดอีกเป็นธรรมดา,

เอเตนะ  สัจจะวัชเชนะ,
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้,

โสตถิ  เต  โหตุ  สัพพะทา.
ขอความสวัสดี  จงบังเกิดมีแก่ท่านตลอดกาลทุกเมื่อ เทอญ.

.......................................................

คัดลอกจาก.....หนังสือธรรมานุสรณ์
ทำวัตร สวดมนต์ ธรรมภาวนา
วัดถ้ำแฝด ต.เขาน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

                                 ........................................................


















Tuesday, 9 July 2013

คาถาชยปริตต

(พระนาทของโลกและการถือฤกษ์)

          มหาการุณิโก  นาโถ,
ผู้เป็นที่พึ่งของสัตว์  ประกอบด้วยมหากรุณา

หิตายะ  สัพพะ  ปาณีนัง
ยังบารมี ทั้งหลาย ทั้งปวงให้เต็มเพื่อประโยชน์

ปูเรตวา  ปาระมี  สัพพา
แก่สัตว์ทั้งหลายถึงแล้ว ซึ่งความ

ปัตโต  สัมโพธิมุตตะมัง,
ตรัสรู้อันอุดม,

เอเตนะ  สัจจวัชเชนะ,
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้,

โหตุ  เต  ชะยะมังคะลัง,
ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน,

     
         ชะยันโต  โพธิยา  มูเล
พระพุทธเจ้า ทรงผจญมาร ณ โคนโพธิ

สักกะยานัง  นันทิวัฑฒะโน
พฤกษ์ ถึงความเป็นผู้เลิศแล้วทรงบันเทิง

เอวัง  ตะวัง  วิชะโย  โหหิ
อยู่ในอภิเษก แห่งพรพุทธเจ้าทั้งหลาย

ชะยัสสุ  ชะยะมังคะเล
ทั้งปวงให้เจริญความยินดี แก่พวกศากยราช

อะปะราชิตะปัลลังเก
ว่าพระองค์ชนะมาร ณ อปารชิตบัลลังก์

สีเส  ปะฐะวิโปกขะเร
อันเป็นชัยมงคลเหนือใบบัว  คือ  ปฐพี  อัน

อะภิเสเก  สัพพะพุทธานัง
เป็นประธาน อันใด  ขอท่านจงเป็นผู้ชนะ

อัคคัปปัตโต  ปะโมทะติ,
ฉันนั้น

          
          สุนักขัตตัง  สุมังคะลัง,
สัตว์ทั้งหลาย ประพฤติสุจริตในเวลาใด
เวลานั้นชื่อว่า เป็นฤกษ์ดีมงคลดี

สุปะภาตัง  สุหุฎฐิตัง,
สว่างแจ้งแล้วดี  รุ่งแจ้งแล้วดี,

สุขะโณ  สุมุหุตโต  จะ,
และขณะดี  ครู่ดี,

สุยิฎฐัง  พรหมจาริสุ,
บูชาดีแล้ว  ในบุคคลผู้พรหมจารีทั้งหลาย,

ปะทักขิณัง  กายะกัมมัง,
กายกรรม  เป็นประทักษิณส่วนเบื้องขวา,

วาจากัมมัง  ปะทักขิณัง,
วจีกรรม  เป็นประทักษิณส่วนเบื้อขวา,

ปะทักขิณัง  มะโนกัมมัง,
มโนกรรม  เป็นประทักษิณส่วนเบื้องขวา,

ปะณิธิ  เต  ปะทักขิณา,
ความปรารถนาของท่าน  เป็นประทักษิณ
ส่วนเบื้องขวา,

ปะทักขิณานิ  กัตวานะ,
สัตว์ทั้งหลายทำกรรม  อันเป็นประทักษิณ
ส่วนเบื้อขวาแล้ว

ละภัน  ตัตเถ  ปะทักขิเณ.
ย่อมได้ประโยชน์ทั้งมวลล้วนเป็นประทักษิณ
ส่วนเบื้องขวา.

* สอนภิกษุไม่ให้เป็นผู้มีฤกษ์มียาม
(อาชีพโหราศาสตร์ผู้มีธรรมอันลามก)
ทั้งกับตนและสัตว์ (สุปุพพัณหสูตร)



คัดลอกจาก....หนังสือธรรมานุสรณ์
วัดถ้ำแฝด ต.เขาน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

                           ..................................................














Saturday, 6 July 2013

บทสวดพาหุงแปล (ชนะมารเหล่าร้าย)

๑.  พาหุํ สหสฺสมภินิมฺมิตสาวุธนฺตํ  
 พระจอมมุนี ได้ชนะพญามารผู้นิรมิตแขน

ศรีเมขลํ อุทิตโฆรสเสนมารํ            
มากตั้งพัน  ถืออาวุธครบมือขี่คชสารครี

ทานาทิธมฺมวิธินา ชิตวา มุนินฺโท    
เมขละ พร้อมด้วยเสนามาร โห่ร้องก้องกึก

ตนฺเตชสา ภวตุ เต ชยมงฺคลานิ,    
ด้วยธรรมวิธี  มีทานบารมีเป็นต้น ด้วยเดชแห่ง                                                                                           พระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน


๒.  มาราติเรกมภิยุชุฌิตสพฺพรตฺตํ  
พระจอมมุนี ได้ชนะอาฬวกยักษ์ผู้มีจิต

โฆรมฺปนาฬวกมกฺขมถทฺธยักฺขํ      
กระด้าง ปราศจากความอดทน มีฤทธิ์พิลึก

ขนฺตีสุทนฺตวิธินา ชิตวา มุนินฺโท    
ยิ่งกว่าพญามาร เข้ามาต่อสู้ยิ่งนักจนตลอด

ตนฺเตชสา  ภวตุ  เต  ชยมงฺคลานิ,  
รุ่งด้วยวิธีทรมานเป็นอันดี คือพระขันตี ด้วยเดช                                                                                         แห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน                                                                      


๓.  นาฬาคิรี คชวรํ อติมตฺตภูตํ      
พระจอมมุนีได้ชนะช้างตัวประเสริฐชื่อนาฬา

ทาวคฺติจกฺกมสนีว สุทารุณนฺตํ      
คีรี เป็นช้างเมายิ่งนัก แสนที่จะทารุณประดุจ

เมตฺตมฺพุเสกวิธินา ชิตวา มุนินฺโท,
ไฟป่า,จักราวุธและสายฟ้า ด้วยวิธีรดลง

ตนฺเตชสา ภวตุ เต ชยมงฺคลานิ,    
ด้วยน้ำ คือพระเมตตา ด้วยเดชแห่งพระพุทธ                                                                                             ชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน,


๔.  อุกฺขิตฺตขคฺคมติหตฺถสุทารุณนฺตํ  
พระจอมมุนี ทรงตั้งพระหฤทัยกระทำอิทธิ

ธาวนฺติโยชนปถงฺคุลิมาลวนฺตํ        
ปาฏิหาริย์ ได้ทรงชนะโจรมีนามว่า องคุลิ

อิทฺธีภิสงฺขตมโน ชิตวา มุนินฺโท      
มาลอันแสนจะร้ายกาจ มีผีมือ ถือดาบวิ่งไล่

ตนฺเดชสา ภวตุ เต ชยมงฺคลานิ,      
พระองค์ไปเป็นทางไกลถึง ๓ โยชน์ ด้วยเดชแห่ง                                                                                       พระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ,
                                                     

๕.  กตฺวาน กฏฺฐมุทรํ อิว คพฺภินียา
พระจอมมุนี ได้ทรงชนะคำกล่าวร้ายของ

จิญฺจาย ทุฎฐวจรนํ ชนกายมชฺเฌ    
นางจิญจมาณวิกา ผู้ทำอาการประหนึ่งว่า

สนฺเตน โสมวิธินา ชิตวา มุนินฬโท  
มีครรภ์ โดยใช้ไม้มีลักษณะกลมให้เป็น

ตนฺเตชสา ภวตุ เต ชยมงฺคลานิ.    
ประดุจมีท้องด้วยวิธีสงบ ระงับพระหฤทัย
ท่ามกลางหมู่ชน ด้วยเดชแห่งพระพุทธ                                  
ชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน,
                                                               


๖.  สจฺจํ วิหาย มติสจฺจกวาทเกตุํ    
พระจอมมุนี รุ่งเรืองแล้วด้วยประทีป คือ

วาทาภิโรปิตมนํ อติอนฺธภูตํ          
ปัญญา ได้ชนะสัจจกนิครนถ์ ผู้มีอัชฌาสัย

ปญฺญาปทีปชลิโต ชิตวา มุนินฺโท
ในที่จะสละเสียซึ่งความสัตย์  มีใจในที่จะยก

ตนฺเตชสา ภวตุ เต ชยมงฺคลานิ,    
ถ้อยคำของตนให้สูงดุจยกธง เป็นผู้มืดมนยิ่งนัก
ด้วยเทศนาญาณวิธี คือ รู้อัธยาศัยแล้วตรัสเทศน
ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น
ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแด่ท่าน,
                                                                                                        


๗.  นนฺโทปนนฺทภุชคํ วิพุธํ มหิทฺธํ    
พระจอมมุนี โปรดให้พระโมคคัลลานะเถระ

ปุตฺเตน เถรภุชเคน ทมาปยนฺโต      
พุทธชิโนรสนิรมิตกายเป็นนาคราช ไป

อิทฺธูปเทสวิธินา ชิตวา มุนินฺโท      
ทรมานพญานาคราช ชื่อนันโทปนันทะ ผู้มี

ตนฺเตชสา  ภวตุ  เต  ชยมงฺคลานิ,  
ความรู้ผิดมีฤทธิ์มาก ด้วยวิธีทรงแนะนำ
การแสดงฤทธิ์แก่พระเถระ ด้วยเดชแห่งพระพุทธ                                                                                         ชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน,
                                                                                     

                                           
๘.  ทุคฺคาหทิฎฐิภุชเคน สุทฏฺฐหตฺถํ  
พระจอมมุนี ได้ชนะพรหม ผู้มีนามว่าท้าว

พฺรหฺมํ วิสุทฺธิชุติมิทฺธิพกาภิธานํ        
พกาผู้มีฤทธิ์ มีอันสำคัญตนว่าเป็นผู้รุ่งเรือง

ญาณาคเทน วิธินา ชิตวา มุนินฺโท    
ด้วยคุณอันบริสุทธิ์ มีมืออันทิฏฐิที่ตนถือผิด

ตันเตชสา ภฺวตุ เต ชยมฺคลานิ,        
รัดรึงไว้แน่นแฟ้นแล้ว ด้วยวิธีอันวิเศษ คือ
เทศนาญาณ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น                                      
ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน,    
                                                                                                                 

เอตาปิ  พุทฺธชยมงฺคลอฏฺฐคาถา
นรชนใด  มีปัญญา  ไม่เกียจคร้าน  สวดก็ดี

โย วาจโน ทินทิเน สรเต มตนฺที      
ระลึกก็ดี  ซึ่งพระพุทธชัยมงคล ๘  คาถา  แม้

หิตฺวานเนกวิวิธานิ จุปทฺทวานิ        
เหล่านี้ทุกวัน ๆ  นรชนนั้นจะพึงละเสียได้  ซึ่ง

โมกฺขํ สุขํ อธิคเมยฺย นโร สปญฺโญ.
อุปัททะวะอันตรายทั้งหลาย มีประการต่าง ๆ
เป็นเอนก  ถึงซึ่งความหลุดพ้น  อันเป็นบรมสุขแล.


                                                                               
                              ...................................................

คัดลอกจาก....หนังสือธรรมานุสรณ์
ทำวัตร สวดมนต์ ธรรมภาวนา
วัดถ้ำแฝด ต.เขน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี













                

Tuesday, 2 July 2013

อานิสงส์ - เมตตา

(เมตตานิสังสะสุตตะปาโฐ)

เอวัม  เม  สุตัง
ข้าพเจ้า (คือ พระอานนท์เถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้,

เอกัง  สะมะยัง  ภะคะวา,
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า,

สาวัตถิยัง  วิหะระติ  เชตะวะเน
เสด็จประทับอยู่ที่เชตวันมหาวิหาร ซึ่งเป็น

อะนาถะปิณฑิกัสสะ  อาราเม,
อารามของอนาถบิณฑิกคฤหบดี ใกล้เมืองสาวัตถี,


ตัตระโข  ภะคะวา  ภิกขุ  อามันเตสิ
ในกาลนั้นแล  พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเรียก

ภิกขะโวติ,
พระภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย,

ปัจจัสโสสุง,  ภะคะวา  เอตะทะโวจะ,
ผู้เจริญ,

เมตตายะ  ภิกขะเว  เจโตวิมุตติยา,
ดูก่อน ภิกษุทั้งหลายเมตตาอันเป็นไปเพื่อความหลุดพ้นแห่งจิตนี้,


อาเสวิตายะ  ภาวิตายะ,
อันบุคคลบำเพ็ญจนคุ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว,

พะหุลีกะตายะ  ยานีกะตายะ,
ทำให้มากแล้ว คือ ชำนาญให้เป็นยวดยานของใจ,

วัตถุกะตายะ  อะนุฏฐิตายะ,
ให้เป็นที่อยู่ของใจตั้งไว้เป็นนิตย์,

เอกาทะสานิสังสา  ปาฏิกังขา,
ย่อมมีอานิสงส์ สิบเอ็ดประการ,

กะตะเม  เอกาทะสะ,
อานิสงส์สิบเอ็ดประการ  อะไรบ้าง,

๑.  สุขัง  สุปะติ,                                              คือ (ผู้เจริญเมตตาจิตนั้น) หลับอยู่ก็เป็นสุขสบาย,

๒.  สุขัง  ปะฏิพุชฌะติ,                                 ตื่นขึ้นก็เป็นสุขสบาย,


๓.  นะปาปะกัง  สุปินัง  ปัสสะติ,                   ไม่ฝันร้าย,


๔.  มะนุสสานัง  ปิโย  โหติ,                           เป็นที่รักของเหล่ามนุษย์ทั้งหลาย,


๕.  อะมะนุสสานัง  ปิโย  โหติ,                      เป็นที่รักของเหล่าอมนุษย์ทั่วไป,


๖.  เทวะตารักขันติ,                                       เทวดาย่อมคุ้มครองรักษา,


๗.  นาสสะอัคคิ  วา  วิสัง  วา                       ไฟก็ดี  ยาพิษก็ดี  ศัตราก็ดี ย่อมไม่ทำอันตราย

      
      สัตถัง  วา  กะมะติ,                                  ไม่ได้,

๘.  ตุวะฏัง  จิตตัง  สะมาธิยะติ,                   จิตย่อมเป็นสมาธิได้รวดเร็ว,


๙.  มุขะวัณโณ  วิปปะสีทะติ,                       ผิวหน้าย่อมผ่องใส,


๑๐. อะสัมมุฬโห  กาลัง  กะโรติ,                   เป็นผู้ไม่ลุ่มหลง  กาลกิริยาตาย,


๑๑. อะปะริง  อัปปะฏิวิชณันโต                    เมื่อยังไม่บรรลุคุณวิเศษ  อันยิ่ง ๆ  ขึ้นไป


 พรหมโร  กูปะโต  โหติ.                                ย่อมเป็นผู้เข้าถึงพรหมโลก แล,


 เมตตายะ  ภิกขะเว  เจโต                             ดูก่อน  ภิกษุทั้งหลาย  เมตตาอันเป็นไปเพื่อ


วิมุตติยา,                                                        ความหลุดพ้นแห่งจิตนี้,


อาเสวิตายะ  ภาวิตายะ,                                อันบุคคลบำเพ็ญจนคุ้นแล้ว  ทำให้มากแล้ว,


พะหุลีกะตายะ  ยานีกะตายะ,                      ทำให้มากแล้ว  คือ  ชำนาญให้เป็นยวดยาน                                                                                      

                                                                        ของใจ,

วัตถุกะตายะ  อะนุฏฐิตายะ,                         ทำให้เป็นที่อยู่ของใจ  ตั้งไว้เป็นนิจ,


ปะริจิตายะ  สุสะมารัทธายะ,                        อันบุคคลสั่งสมอบรมแล้ว  บำเพ็ญให้มากแล้ว,


อิเม  เอกาทะสานิสังสา  ปาฏิกังขาติ,          ย่อมมีอานิสงส์สิบเอ็ดประการ,


อิทะมะโว  จะ  ภะคะวา,                                 พระผู้มีพระภาคเจ้า  ได้ตรัสธรรมปริยายอันนี้แล้ว,


อัตตะมะนา  เต  ภิกขู  ภะคะวะโต,               พระภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น  ก็มีใจยินดี  พอใจ,


ภาสิตัง  อะภินันทุนติ,                                   ในภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น,


อิติ.                                                                  ด้วยประการฉะนี้  แล.




จาก....หนังสือธรรมานุสรณ์

วัดถ้ำแฝด  ต.เขาน้อย  อ.ท่าม่วง  จ.กาญจนบุรี