นำ (หันทะ มะยัง ติลักขะณาทิคาถาโย ภะณามะ เส.)
สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ
เมื่อใดบุคคลเห็นด้วยปัญญาว่าสังขารทั้งปวง
ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ,
ไม่เที่ยง,
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข
เมื่อนั้น ย่อมเหนื่อยหน่าย ในสิ่งที่เป็นทุกข์
เอสะ มัคโค วิสุทธิยา,
ที่ตนหลง นั่นแหละเป็นทางแห่งพระนิพพาน
อันเป็นธรรมหมดจด,
สัพเพ สังขารา ทุกชาติ
เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า สังขาร
ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ,
ทั้งปวงเป็นทุกข์,
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข
เมื่อนั้น ย่อมเหนื่อยหน่ายในสิ่งเป็นทุกข์
เอสะ มัคโค วิสุทธิยา,
ที่ตนหลง นั่นแหละ เป็นทางแห่งนิพพาน
อันเป็นธรรมหมดจด,
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ
เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า ธรรมทั้งปวง
ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ,
เป็นอนัตตา,
ยะถะ นิพพินทะติ ทุกเข
เมื่อนั้น ย่อมเหนื่อยหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
เอสะ มัคโค วิสุทธิยา,
ที่ตนหลง นั่นแหละเป็นทางแห่งพระนิพพาน
อันเป็นธรรมหมดจด
อัปปะกา เต มะนุสเสสุ
ในหมู่มนุษย์ทั้งหลาย ผู้ที่ถึงฝั่งแห่งพระ
เย ชะนา ปาระคามิโน,
นิพพานมีน้อยนัก,
อะถายัง อิตะรา ปะชา
หมู่มนุษย์นอกนั้น ย่อมวิ่งเลาะอยู่ตามฝั่งใน
ตีระเมวานุธาวะติ,
นี่เอง,
เย จะ โข สัมมะทักขาเต
ก็ชนเหล่าใดประพฤติสมควรแก่ธรรม ใน
ธัมเม ธัมมานุวัตติโน,
ธรรมที่ตรัสไว้ชอบแล้ว,
เต ชะนา ปาระเมสสันติ
ชนเหล่านั้นจักถึงฝั่งแห่งพระนิพพาน
มัจจุเธยยัง สุทุตตะรัง,
ข้ามพ้นบ่วงแห่งมัจจุราชที่ข้ามได้ยากนัก
กัณหัง ธัมมัง วิปปะหายะ,
จงเป็นบัณฑิตละธรรมดำเสีย แล้วเจริญ
สุกกัง ภาเวถะ ปัณฑิโต,
ธรรมขาว,
โอกา อะโนกะมาคัมมะ
จงมาถึงที่ไม่มีน้ำ จากที่มีน้ำ จงละกามเสีย
วิเวกเก ยัตถะ ทูระมัง,
เป็นผู้ไม่มีความกังวล,
ตัตราภิระติมิจเฉยยะ
จงยินดีเฉพาะต่อพระนิพพานอันเป็นที่สงัด
หิตวา กาเม อะกิญจะโน,
ซึ่งสัตว์ยินดีได้โดยยาก,
ปะริโยทะเปยยะ อัตตานัง
บัณฑิตควรยังตนให้ผ่องแผ้วจากเครื่องเศร้า-
จิตตะเกละเสหิ ปัณฑิโต,
หมองแห่งจิตทั้งหลาย,
เยสัง สัมโพธิ ยังเคสุ
จิตอันบัณฑิตทั้งหลายเหล่าใดอบรมดีแล้ว
สัมมา จิตตัง สุภาวิตัง,
โดยถูกต้อง ในองค์เป็นเหตุตรัสรู้ทั้งหลาย,
อาทานะปฏินิสสัคเค
บัณฑิตทั้งหลายเหล่าใดไม่ถือมั่น ยินดีแล้ว
อะนุปาทายะ เย ระตา,
ในอันสละความยึดถือ,
ขีณาสะวา ชุติมันโต
บัณฑิตทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมเป็นผู้ไม่มี
เต โลเก ปะรินิพพุตาติ.
อาสวะ มีความโพลงดับสนิทในโลก ดังนี้แล.
คัดลอกจาก.....หนังสือธรรมานุสรณ์
ทำวัตร สวดมนต์ ธรรมภาวนา
วัดถ้ำแฝด ต.เขาน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ
เมื่อใดบุคคลเห็นด้วยปัญญาว่าสังขารทั้งปวง
ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ,
ไม่เที่ยง,
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข
เมื่อนั้น ย่อมเหนื่อยหน่าย ในสิ่งที่เป็นทุกข์
เอสะ มัคโค วิสุทธิยา,
ที่ตนหลง นั่นแหละเป็นทางแห่งพระนิพพาน
อันเป็นธรรมหมดจด,
สัพเพ สังขารา ทุกชาติ
เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า สังขาร
ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ,
ทั้งปวงเป็นทุกข์,
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข
เมื่อนั้น ย่อมเหนื่อยหน่ายในสิ่งเป็นทุกข์
เอสะ มัคโค วิสุทธิยา,
ที่ตนหลง นั่นแหละ เป็นทางแห่งนิพพาน
อันเป็นธรรมหมดจด,
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ
เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า ธรรมทั้งปวง
ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ,
เป็นอนัตตา,
ยะถะ นิพพินทะติ ทุกเข
เมื่อนั้น ย่อมเหนื่อยหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
เอสะ มัคโค วิสุทธิยา,
ที่ตนหลง นั่นแหละเป็นทางแห่งพระนิพพาน
อันเป็นธรรมหมดจด
อัปปะกา เต มะนุสเสสุ
ในหมู่มนุษย์ทั้งหลาย ผู้ที่ถึงฝั่งแห่งพระ
เย ชะนา ปาระคามิโน,
นิพพานมีน้อยนัก,
อะถายัง อิตะรา ปะชา
หมู่มนุษย์นอกนั้น ย่อมวิ่งเลาะอยู่ตามฝั่งใน
ตีระเมวานุธาวะติ,
นี่เอง,
เย จะ โข สัมมะทักขาเต
ก็ชนเหล่าใดประพฤติสมควรแก่ธรรม ใน
ธัมเม ธัมมานุวัตติโน,
ธรรมที่ตรัสไว้ชอบแล้ว,
เต ชะนา ปาระเมสสันติ
ชนเหล่านั้นจักถึงฝั่งแห่งพระนิพพาน
มัจจุเธยยัง สุทุตตะรัง,
ข้ามพ้นบ่วงแห่งมัจจุราชที่ข้ามได้ยากนัก
กัณหัง ธัมมัง วิปปะหายะ,
จงเป็นบัณฑิตละธรรมดำเสีย แล้วเจริญ
สุกกัง ภาเวถะ ปัณฑิโต,
ธรรมขาว,
โอกา อะโนกะมาคัมมะ
จงมาถึงที่ไม่มีน้ำ จากที่มีน้ำ จงละกามเสีย
วิเวกเก ยัตถะ ทูระมัง,
เป็นผู้ไม่มีความกังวล,
ตัตราภิระติมิจเฉยยะ
จงยินดีเฉพาะต่อพระนิพพานอันเป็นที่สงัด
หิตวา กาเม อะกิญจะโน,
ซึ่งสัตว์ยินดีได้โดยยาก,
ปะริโยทะเปยยะ อัตตานัง
บัณฑิตควรยังตนให้ผ่องแผ้วจากเครื่องเศร้า-
จิตตะเกละเสหิ ปัณฑิโต,
หมองแห่งจิตทั้งหลาย,
เยสัง สัมโพธิ ยังเคสุ
จิตอันบัณฑิตทั้งหลายเหล่าใดอบรมดีแล้ว
สัมมา จิตตัง สุภาวิตัง,
โดยถูกต้อง ในองค์เป็นเหตุตรัสรู้ทั้งหลาย,
อาทานะปฏินิสสัคเค
บัณฑิตทั้งหลายเหล่าใดไม่ถือมั่น ยินดีแล้ว
อะนุปาทายะ เย ระตา,
ในอันสละความยึดถือ,
ขีณาสะวา ชุติมันโต
บัณฑิตทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมเป็นผู้ไม่มี
เต โลเก ปะรินิพพุตาติ.
อาสวะ มีความโพลงดับสนิทในโลก ดังนี้แล.
คัดลอกจาก.....หนังสือธรรมานุสรณ์
ทำวัตร สวดมนต์ ธรรมภาวนา
วัดถ้ำแฝด ต.เขาน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
No comments:
Post a Comment
Note: only a member of this blog may post a comment.