เอวัมเม สุตัง,
อันข้าพเจ้า (คือ พระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอย่าง,นี้
เอกัง สะมะยัง ภะคะวา,
สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า,
พาราณะสิยัง วิหะระติ
เสด็จประทับอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
อิสิปะตะเน มิคะทาเยฯ,
ใกล้เมืองพาราณาสี,
ตัตระ โข ภะคะวา
ในกาลนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัส-
ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ,
เตือนพระภิกขุปัญจวัคคี ว่า ,
เทวเม ภิกขเว อันตา,
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ที่สุดสองอย่างนี้,
ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา,
อันบรรพชิตไม่ควรเสพ,
โย จายัง กาเมสุ,
คือ การประกอบตนให้พัวพันด้วยกาม ใน
กามะสุขัลลิกานุโยโค,
กามทั้งหลายนี้ใด,
หีโน,
เป็นกรรมอันเลว,
คัมโม,
เป็นเหตุให้ตั้งบ้านเรือน,
โปถุชชะนิโก,
เป็นของคนมีกิเลสหนา,
อะนะริโย,
ไม่ใช่ของคนไปจากข้าศึกคือกิเลส,
อะนัตถะสัญหิโต,
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์อย่างหนึ่ง,
โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค,
คือการประกอบด้วยความเหน็ดเหนื่อยด้วยตน เหล่าใด
, (ทรมานตนเองอย่างสุดโต่ง)
ทุกโข,
ให้เกิดทุกข์แก่ผู้ประกอบ,
อะนะริโย,
ไม่ใช่ของคนไปจากข้าศึกคือกิเลส,
อะนัตถะสัญหิโต,
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์อย่างหนึ่ง,
เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง
อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา,
ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดสองอย่างนี้นั่นนั้น,
ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา,
อันตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง,
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี,
ทำดวงตา ทำญาณเครื่องรู้,
อุปะสะมายะ อะภิญญายะ
ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบ ระงับเพื่อ
สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ,
ความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี เพื่อความดับ,
กะตะมา จะ สา ภิขะเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อปฏิบัติซึ่งเป็นกลาง
มัชฌิมา ปะฏิปะทา,
นั้นเป็นไฉน,
ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา,
ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง,
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี,
ทำดวงตา ทำญาณเครื่องรู้,
อุปะสะมายะ อะภิญญายะ
ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบระงับ เพื่อ
สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ,
ความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี เพื่อความดับ,
อะยะเมวะ อะริโย
ทางมีองค์ ๘ เครื่องไปจากข้าศึก คือกิเลส
อัฏฐังคิโก มัคโค,
นี้เอง, (พระอริยบุคคลต้องเดินทางนี้)
๑. สัมมาทิฏฐิ, ความเห็น (ธรรมะถูกต้อง),
๒. สัมมาสังกัปโป, ความดำริชอบ,
๓. สัมมาวาจา, วาจาชอบ,
๔. สัมมากัมมันโต, การงานชอบ,
๕. สัมมาอาชีโว, การเลี้ยงชีวิตชอบ,
๖. สัมมาวายาโม, ความเพียงชอบ,
๗. สัมมาสะติ, การระลึกชอบ, (ปฏิบัติให้สูงขึ้นจากมรรคเป็นผล)
๘. สัมมาสะมาธิ, การตั้งจิตชอบ, (พระอริยบุคคลต้องได้สมาธิ หรือ ฌาน เท่านั้น)
อะยัง โข สา ภิกขะเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้แลข้อปฏิบัติซึ่ง
มัชฌิมา ปะฏิปะทา,
เป็นกลางนั้น,
ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา,
ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง,
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี,
ทำดวงตา ทำญาณเครื่องรู้,
อุปะสะมายะ อะภิญญายะ
ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบระงับ เพื่อ
สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ,
ความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี เพื่อความดับ,
อิทัง โข ปะนะ ภิขะเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็นี้แล เป็นทุกข์อย่าง
ทุกขัง อะริยะสัจจัง,
แท้จริง คือ
ชาติปิ ทุกขา,
แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์,
ชะราปิ ทุกขา,
แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์,
มะระณัมปิ ทุกขัง,
แม้ความตายก็เป็นทุกข์,
โสกะปริเทวะทุกขะโทมะนัส-
แม้ความโศกความร่ำไรรำพัน
สุปายาสาปิ ทุกขา,
ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ
ความคับแค้นใจก็เป็นทุกข์,
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข,
ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์,
ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข,
ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์,
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง,
มีความปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้น นั่นก็เป็นทุกข์,
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา,
ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์,
อิทัง โข ปะนะ ภิขะเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็นี้แล เป็นเหตุให้ทุกข์
ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง,
เกิดขึ้นอย่างจริงแท้ คือ
ยายัง ตัณหา,
ความทะยานอยากนี้,
โปโนพภะวิกา,
ทำให้มีภพอีก,
นันทิราคะสะหะคะตา,
เป็นไปกับความกำหนัด ด้วยอำนาจความเพลิน,
ตัตระ ตัตราภินันทินี,
เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ
เสยยะถีทัง,
ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ,
กามะตัณหา,
ความทะยานอยากในอารมณ์ที่ใคร่,
ภะวะตัณหา,
ความทะยานอยากในความมีความเป็น,
วิภะวะตัณหา,
ความทะยานอยากในความไม่มี ไม่เป็น,
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็นี้แล เป็นความดับ
ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง,
ทุกอย่างจริงแท้ คือ,
โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ
ความดับโดยสิ้นกำหนัด โดยไม่เหลือแห่ง
อะเสสะวิราคะนิโรโธ,
ตัณหานั้นนั่นเทียว อันใด,
จาโค,
ความสละตัณหานั้น,
ปะฏินิสสัคโค,
ความวางตัณหานั้น,
มุตติ,
ความปล่อยตัณหานั้น,
อะนาละโย,
ความไม่พัวพันแห่งตัณหานั้น,
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็นี้แล เป็นข้อปฏิบัติ
นิโรธะคามินี ปะฏิปทา อิริยะสัจจัง,
ให้ถึงความดับทุกข์อย่างจริงแท้ คือ
อะยะเมวะ อะริโย
ทางมีองค์ ๘ เครื่องไปจากข้าศึก คือกิเลส
เสสยยะถีทัง,
ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ,
๑. สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ. (ถูกต้อง)
๒. สัมมาสังกัปโป, ความดำริชอบ,
๓. สัมมาวาจา, วาจาชอบ,
๔. สัมมากัมมันโต, การงานชอบ,
๕. สัมมาอาชีโว, การเลี้ยงชีวิตชอบ,
๖. สัมมาวายาโม, ความเพียรชอบ,
๗. สัมมาสะติ, การระลึกชอบ,
๘. สัมมาสะมาธิ, การตั้งจิตชอบ,
อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว
ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ
ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว
ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง
วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว
อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา
แก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้ เคยฟัง
อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ,
แล้วในกาลก่อนว่านี้เป็นทุกขอริยสัจจ์,
(ยังมีต่อ)